ภาษีซื้อต้องห้ามกับรายจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล


ใบระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อต้องห้ามเป็นภาษีซื้อที่กฎหมายไม่ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่มนำมาหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษีหรือขอคืนภาษีซื้อ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม สามารถนำภาษีซื้อต้องห้าม
มาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนี้
> ภาษีซื้อต้องห้ามที่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
1.      ภาษีซื้อค่ารับรองที่มีลักษณะ ดังนี้
(1)      ค่ารับรอง หรือค่าบริการไม่ว่าจะจ่ายเพื่อการรับรองหรือให้บริการแก่บุคคลใดๆ และไม่ว่าจะ
อำนวยประโยชน์แก่กิจการหรือไม่ก็ตาม เซ่น ค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ค่ามหรสพ ค่าใช้จ่ายเพื่อการกีฬา
และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ทำนองเดียวกัน
(2)     ค่าสิ่งของ หรือประโยชน์อื่นใดที่ให้แก่บุคคลซื้งไต้รับการรับรองหรือรับบริการหรือที่ให้บุคคลอื่น
2.       ภาษีซื้อต้องห้ามตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวลับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 42)
ภาษีซื้อต้องห้ามตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรที่สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไร
สุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล มีดังนี้
(1)         ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เข่าซื้อ เข่า หรือรับโอนรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน
10 คน และภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือการรับบริการที่เกี่ยวช้องกับรถยนต์นั่ง และรถยนต์โดยสารที่มีที่
นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
ไมให้ใช้บังคับสำหรับการขายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่า
ด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต และการให้บริการเข่ารถยนต์ดังกล่าวของตนเองโดยตรง และการให้บริการ
รับประกันวินาศภัยสำหรับรถยนต์ดังกล่าว
หมายเหตุ
"รถยนต์นั่ง" คือ รถเก่งหรือรถยนต์ที่ออกแบบสำหรับเพื่อใช้สำหรับนั่งเป็นปกติวิสัย
และให้หมายความรวมถึงรถยนต์ในลักษณะทำนองเดียวกัน เข่น รถยนต์ที่มีหลังคาติดต่อเป็นเนื้อเดียวกันใน
ลักษณะถาวรด้านช้าง หรือด้านหลังคนขับมีประตูหรือหน้าต่างและมีที่นั่ง ทั้งนี้ไม่ว่าจะมีที่นั่งเท่าใด
"รถยนต์โดยสาร" คือ รถตู้หรือรถยนต์ที่ออกแบบเพื่อใช้ขนล่งคนโดยสารจำนวนมาก
รวมทั้งรถยนต์ในลักษณะทำนองเดียวกัน
(2)     ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ
(3)     ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ หรือจะใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
หรือภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายของกิจการประ๓ทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
(4)      ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออลังหาริมทรัพย์อื่น เพื่อนำมาใช้ในกิจการของตนเอง
ซึ่งเป็นกิจการประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ต่อมาผู้ประกอบการได้ขายหรือให้เข่าอาคารหรืออลังหาริมทรัพย์นั่น
หรือนำไปใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 3 ปีนับแต่เดือนภาษีที่ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์
(5)         ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีรายการในใบกำกับ
ภาษีไม่ได้พิมพ์หรือจัดทำขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ

(6)       ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีฃ้อความอื่นที่อธิบดี
กำหนดในใบกำกับภาษีที่ไม่ได้จัดทำขึ้นด้วยวิธีการตามประกาศอธิบดีกรมลรรพากร
(7)     ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีรายการในใบกำกับภาษี
เป็นสำเนา
(copy) แต่ไม่รวมถึงใบกำกับภาษีที่ได้จัดทำรวมกับเอกสารทางการค้าอื่นซึ่งมีจำนวนหลายฉบับ และ
ใบกำกับภาษีมีรายการในใบกำกับภาษีเป็นสำเนามีข้อความว่า " เอกสารออกเป็นขุด " ปรากฏอยู่ด้วย
(8)    ภาษีซื้อส่วนที่เฉลี่ยเป็นของกิจการประ๓ทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งได้คำนวณตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
(9)     ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการ ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มน่ามาใข้
หรือจะใข้ในการประกอบกิจการทั้งประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
และผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มใช้สิทธิเลือกไม่นำภาษีซื้อทั้งหมดมาหักในการคำนวณ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มมีรายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของรายได้
ของกิจการทั้งหมด
(10)      ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูป ซึ่งรายการได้ถูกแกไขเปลี่ยนแปลงเป็นภาษีซื้อต้องห้าม เว้นแต่
รายการซึ่งได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
หมายเหตุ ะ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
-     การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษี พร้อมกับลงลายมือขื่อผู้ออกใบกำกับภาษีกำกับการ
แก้ไข ทั้งนี้เฉพาะใบกำกับภาษีที่ได้ออกในข่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่ทางราชการได้ประกาศเปลี่ยนแปลง
เลขที่บ้าน ขื่อถนน หมู่บ้าน ตำบลหรือแขวง อำเภอ'หรือเขต หรือจังหวัด หรือได้ทำการแบ่งเขตถนน หมู่บ้าน ตำบล
หรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัดใหม่
-          การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษีด้วยวิธีการประทับตรายางที่อยู่ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ทั้งนี้เฉพาะใบกำกับภาษีที่ได้ออกในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่ทางราขการได้ประกาศเปลี่ยนแปลงเลขที่
บ้าน ขื่อถนน หมู่บ้าน ตำบลหรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด หรือได้ทำการแบ่งเขตถนน หมู่บ้านตำบล
หรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัดใหม่
(11)      ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ หรือรับโอนรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งและรถยนตํโดยสารที่มีที่
นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต เพื่อใช้หรือจะใช้ในกิจการประเภทที่ต้องเสีย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม และต่อมาภายใน 3 ปีนับแต่เดือนภาษีที่ได้รถยนต์ไวในครอบครอง ได้มีการดัดแปลงรถยนต์
ดังกล่าวเป็นรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
ไมให้ใช้บังคับสำหรับการขายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่า
ด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต และการให้บริการเช่ารถยนต์ดังกล่าวของตนเองโดยตรง
(12)     ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูป ซึ่งมีรายการ ขื่อ ที่อยู่ เลขประจำดัวผู้เสียภาษีอากรตามมาตรา
86/4 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ไม่ได้พิมพ์ขึ้นหรือจัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีขึ้นด้วย
ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับเป็นภาษีซื้อต้องห้าม
ไม่ให้ใช้บังคับสำหรับใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นบริษัทจำกัดหรือ
บริษัทมหาขนจำกัดที่ได้เปลี่ยนสถานะจากรัฐวิสาหกิจประเภทองค์การของรัฐตามที่มีกฎหมายจัดตั้ง ทั้งนี้เฉพาะ
ใบกำกับภาษีที่ได้ออกในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่จดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาซน
จำกัด

> ภาษีซื้อต้องห้ามที่ไม่ให้นำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
1.    ไม่มีใบกำกับภาษี ใบกำกับภาษีสูญหาย หรือไม,อาจแสดงใบกำกับภาษีได้ว่ามีการชำระภาษีซื้อ
2.     ใบกำกับภาษีมีฃ้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูร(น!นส่วนที่เป็นสาระสำคัญ
3.      ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการ
4.      ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้!ม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี
หมายเหตุ ะ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม สามารถ
นำภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกเรียกเก็บจากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณ
กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ เว้นแต่เป็นรายจ่ายที่กฎหมายไม่ให้นำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณ
กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

กิจการที่จะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะได้แก่ การประกอบกิจการดังต่อไปนี้ในราชอาณาจักร โดยกิจการนั้น ไม่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ

        1.   การธนาคาร
ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรือกฎหมายเฉพาะ

        2.   การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบ ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์

        3.   การรับประกันชีวิต ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวิต

        4.   การรับจำนำ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจำนำ

        5.   การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กู้ยืมเงินค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงิน หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธีต่าง ๆ

              ในกรณีที่มีปัญหาว่า กิจการใดเป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์หรือไม อธิบดีกรมสรรพากรจะเสนอให้คณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรพิจารณากำหนดขอบเขตและ เงื่อนไขของการประกอบกิจการดังกล่าวนั้นก็ได้และเมื่อคณะกรรมการวินิจฉัย ภาษีอากรได้วินิจฉัยแล้ว ให้ประกาศคำวินิจฉัยนั้นในราชกิจจานุเบกษา

        6.   การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 (ใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2542 เป็นต้นไป) ดังต่อไปนี้

              การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือว่าเป็นทางการค้าหรือหากำไรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ได้แก่การขายอสังหาริม ทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ดังต่อไปนี้

            (1)   การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือว่าเป็นทางการค้าหรือหากำไรตามพระราชกฤษฎีกาฯ ได้แก่ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมดังต่อไปนี้

            (2)   การขายห้องชุดของผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ขอจดทะเบียนอาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วย อาคารชุด

            (3)   การขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อขาย รวมถึงการขายที่ดินอันเป็นที่ตั้งของ อาคารดังกล่าว

            (4)   การขายอสังหริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) เฉพาะกรณีที่มีการแบ่งขาย หรือแบ่งแยกไว้เพื่อขาย โดยได้จัดทำถนนหรือสิ่งสาธารณูปโภคอื่น หรือให้คำสั่นว่าจะจัดให้มีสิ่งดังกล่าว

            (5)   การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีไว้ในการประกอบกิจการเฉพาะของบริษัทหรื ห้างหุ้นส่วน ที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล องค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นที่กฎหมายกำหนดให้เป็นนิติบุคคล

            (6)   การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่เข้าลักษณะตาม (1) (2) (3) (4) (5) ที่ได้กระทำภายในห้าปี นับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น เว้นแต่

                    (ก)   การขายหรือการถูกเวนคืนตามกฎหมาย ว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์

                    (ข)   การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก

                    (ค)   การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นสถานที่อยู่อาศัยอันเป็นแหล่งสำคัญที่ผู้ ขายมีชื่อ อยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่ง ปีที่นับแต่วันที่ได้มาซึ่ง อสังหาริมทรัพย์นั้นในกรณีที่ที่ดินและอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างตาม (ค) ได้มาไม่พร้อมกันกำหนดเวลาห้า ปีตามความใน (16) ให้ถือตามระยะเวลาการได้มาซึ่งที่ดินหรืออาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มาภาย หลัง

                    (ง)   การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ โดยไม่มีค่าตอบแทน ให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมายของตน แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม

                    (จ)   การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ ทางมรดกให้แก่ทายาท โดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม

                    (ฉ)   การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ส่วนราชการหรือ องค์การของรัฐบาลโดยไม่มีค่าตอบแทน

                    (ช)   การแลกเปลี่ยนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์กับส่วนราชการ หรือองค์การของรัฐบาลเฉพาะในกรณีที่ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลนั้นมิ ได้มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นอย่าง อื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่แลกเปลี่ยนนั้น

หมายเหตุ ผู้ มีเงินได้ที่ได้รับเงินได้พึงประเมินจากการขายอสังหาริมทรัพย์ตาม (6) ซึ่งได้ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และได้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะไว้แล้วเมื่อถึงกำหนดยื่นรายการเสียภาษีเงินได้ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำเงินได้ดังกล่าว มาคำนวณเป็นเงินได้พึงประเมิน ทั้งนี้เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา(พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 376 พ.ศ.2544)

            (7)   การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์

            (8)   การประกอบกิจการอื่น ตามกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

            กำหนดให้กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์เป็นกิจการที่อยู่ในบังคับต้อง เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ เนื่องจากการประกอบกิจการซื้อหรือขายคืนหลักทรัพย์โดยมีสัญญาหรือซื้อคืนดัง กล่าวมี ลักษณะอื่นที่อยู่ในบัง คับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 350) พ.ศ. 2524

            กำหนดให้การประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงเป็นกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษี ธุรกิจ เฉพาะ เนื่องจากการประกอบธุรกิจดังกล่าวมีลักษณะคล้ายคลึงกับการให้กู้ยืมเงินที่ เป็นการประกอบกิจการโดยปกติ เยี่ยงธนาคารพาณิชย์ (พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 358) พ.ศ.2542 )

            คำว่า "ธุรกิจแฟ็กเตอริง" หมายความว่า ธุรกิจที่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการตกลงจะ โอนทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้เนื่องจากการขายสินค้าหรือการให้ บริการระหว่างตนกับลูกหนี้ของตน ให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริง โดยผู้ประกอบธุรกิจแฟ็กเตอริงตกลงจะให้สินเชื่อซึ่งรวมถึงการให้กู้ยืมและ การ ทดรองจ่ายแก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการและรับที่จะดำเนินการอย่างหนึ่ง อย่างใดดังต่อไปนี้

                    (ก)   จัดให้มีบัญชีทรัพย์สินที่จะได้รับการชำระหนี้

                    (ข)   เรียกเก็บทรัพย์สินที่จะได้รับจากการชำระหนี้

                    (ค)   รับผิดชอบในหนี้ที่ลูกหนี้ของผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการผิดนัด

ภาษีซื้อต้องห้าม

ภาษีซื้อต้องห้าม หมายถึง ภาษีซื้อที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่สามารถน่ามาหักออก
จากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มหรือน่ามาขอคืนภาษีซื้อ ซึ่งกฎหมายไต้กำหนดลักษณะของภาษีซื้อต้องห้าม
ไว้ในมาตรา 82/5 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้
ลักษณะภาษีซื้อต้องห้าม
1.     ไม่มีใบกำกับภาษี ใบกำกับภาษีสูญหาย หรือไม่อาจแสดงใบกำกับภาษีไต้
(1)   ไม่มีใบกำกับภาษี เนื่องจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการไม่ออกใบกำกับภาษี หรือออกใบกำกับภาษีแต่
ระบุซื่อบุคคลอื่น
(2)     ใบกำกับภาษีสูญหายหรือไม่อาจแสดงใบกำกับภาษีได้ เบีนกรณีที่ได้ซื้อสินค้าหรือรับบริการจริง
แดไม่อาจแสดงต่อเจ้าพนักงานสรรพากรได้ แก้ไขโดยการร้องขอใบแทนใบกำกับภาษีจากผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ
ที่ออกใบกำกับภาษี เพื่อใฃ้เป็นหลักฐานในการน่าภาษีซื้อไปหักออกจากภาษีขายหรือขอคืนภาษีซื้อ
2.        กรณีใบกำกับภาษีมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณีในส่วนที่เป็นสาระสำคัญตามที่กฎหมายกำหนด
ใบกำกับภาษีที่น่ามาหักออกจากภาษีขายหรือขอคืนภาษีซื้อ ต้องเป็นใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป และต้องมี
ข้อความตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร หากใบกำกับภาษีมีข้อความไม่ถูกต้องครบถ้วนตามที่กฎหมาย
กำหนดภาษีซื้อนั้นจะเป็นภาษีซื้อต้องห้าม ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มควรตรวจสอบใบกำกับภาษี
ว่ามีรายการครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ก่อนที่จะรับใบกำกับภาษีนั้นมาใข้
3.       ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีซื้อที่น่ามาหักออกจากภาษีขายหรือขอคืนภาษีซื้อ ต้องเป็นภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อกิจการหรือ
เพื่อหากำไรของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หากภาษีซื้อนั้นไม่เกี่ยวข้องกับกิจการหรือเพื่อหากำไร
ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อนั้นเป็นภาษีซื้อต้องห้าม ถึงแม้ใบกำกับภาษีนั้นจะมี
รายการตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากรก็ตาม
4.      ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองหรือเพื่อการอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน
ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองหรือเพื่อการอันมีลักษณะทำนองเดียวกันที่ไม่ให้น่ามาหักออก
จากภาษีขายหรือขอคืนภาษีซื้อ
(1)        ค่ารับรองหรือค่าบริการไม่ว่าจะจ่ายเพื่อการรับรองหรือให้บริการแก่บุคคลใดๆ และไม่ว่าจะ
อำนวยประโยขน่แก่กิจการหรือไม่ก็ตาม เข่น ค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ค่ามหรสพ ค่าใช้จ่ายเพื่อการกีฬา
และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ทำนองเดียวกัน
(2)      ค่าสิ่งของหรือประโยชน์อื่นใดที่ให้แก่บุคคลซึ่งได้รับการรับรองหรือรับบริการหรือที่ให้บุคคลอื่น
5.      ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี
ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษีเป็นภาษีซื้อที่ไมให้น่ามาหักออกจากภาษีขายหรือขอคืนภาษีซื้อ
ผู้ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี มีดังนี้
1.     บุคคลที่ไมใข่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.          ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มที่อยู่นอกราชอาณาจักร และมีดัวแทนทำการออก
ใบกำกับภาษีในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

3. ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ทรัพย์สินถูกนำออกขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นโดย
บุคคลอื่น
6. ภาษีซื้อตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 42)
ภาษีซื้อตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรที่กฎหมายไมให้นำมาหักออกจากภาษีขายหรือขอคืนภาษีซื้อ มีดังนี้
(1)          ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เข่าซื้อ เข่า หรือรับโอนรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน
10 คน และภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือการรับบริการที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่
นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
ไมให้ใช้บังคับสำหรับการขายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วย
พิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตและการให้บริการเข่ารถยนต์ดังกล่าวของตนเองโดยตรง และการให้บริการรับ
ประกันวินาศภัยสำหรับรถยนต์ดังกล่าว
หมายเหตุ
"รถยนต์นั่ง" คือ รถเกังหรือรถยนต์ที่ออกแบบสำหรับเพื่อใช้สำหรับนั่งเป็นปกติวิสัย และ
ให้หมายความรวมถึงรถยนต์ในลักษณะทำนองเดียวกัน เข่น รถยนต์ที่มีหลังคาติดต่อเป็นเนื้อเดียวกันในลักษณะ
ถาวรด้านช้าง หรือด้านหลังคนขับมีประตูหรือหน้าต่างและมิที่นั่ง ทั้งนี้ไม่,ว่า'จะมีที่นั่งเท่าใด
"รถยนต์โดยสาร" คือ รถตู้หรือรถยนต์ที่ออกแบบเพื่อใช้ขนล่งคนโดยสารจำนวนมาก รวมทั้ง
รถยนต์ในลักษณะทำนองเดียวกัน
(2)      ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ
(3)      ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้ หรือจะใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
หรือภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
(4)     ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างอาคารหรืออลังหาริมทรัพย์อื่น เพื่อนำมาใช้ในกิจการของตนเอง ซึ่งเป็น
กิจการประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อดังกล่าวให้มีสิทธินำมาหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษี
มูลค่าเพิ่ม ต่อมาผู้ประกอบการได้ขายหรือให้เข่าอาคารหรืออลังหาริมทรัพย์นั่นหรือนำไปใช้ในกิจการประเภทที่
ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 3 ปีนับแต่เดือนภาษีที่ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ ภาษีซื้อนั่นเป็นภาษีซื้อต้องห้าม
ตั้งแต่ต้น
(5)      ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีรายการในใบกำกับ
ภาษีไม่ได้พิมพ์หรือจัดทำขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ
(6)     ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีช้อความอื่นที่อธิบดี
กำหนดในใบกำกับภาษีที่ไม่ได้จัดทำขึ้นด้วยวิธีการตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
(7)       ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งมีรายการในใบกำกับภาษี
เป็นสำเนา
(copy) เป็นภาษีซื้อต้องห้าม แต่ไม่รวมถึงใบกำกับภาษีที่ได้จัดทำรวมกับเอกสารทางการค้าอื่นซึ่งมีจำนวน
หลายฉบับ และใบกำกับภาษีมีรายการในใบกำกับภาษีเป็นสำเนามีช้อความว่า "เอกสารออกเป็นขุด" ปรากฏอยู่ด้วย
(8)      ภาษีซื้อส่วนที่เฉลี่ยเป็นของกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งได้คำนวณตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
(9)     ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือรับบริการ ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนำมาใช้
หรือจะใช้ในการประกอบกิจการทั้งประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
และผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มใช้สิทธิเลือกไม่นำภาษีซื้อทั้งหมดมาหักในการคำนวณ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มมีรายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของรายได้
ของกิจการทั้งหมด

(10)        ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปซึ่งรายการได้ถูกแกไขเปลี่ยนแปลงเป็นภาษีซื้อต้องห้าม เว้นแต่
รายการซึ่งได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
หมายเหตุ ะ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
-     การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษี พร้อมกับลงลายมือซื่อผู้ออกใบกำกับภาษีกำกับการ
แก้ไข ทั้งนี้เฉพาะใบกำกับภาษีที่ได้ออกในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่ทางราขการได้ประกาศเปลี่ยนแปลง
เลขที่บ้าน ซื่อถนน หมู่บ้าน ตำบลหรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด หรือได้ทำการแบ่งเขตถนน หมู่บ้าน ตำบล
หรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัดใหม่
-           การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษีด้วยวิธีการประทับตรายางที่อยู่ที่ถูกต้องเพิ่มเติม
ทั้งนี้เฉพาะใบกำกับภาษีที่ได้ออกในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่ทางราชการได้ประกาศเปลี่ยนแปลงเลขที่
บ้าน ซื่อถนน หมู่บ้าน ตำบลหรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด หรือได้ทำการแบ่งเขตถนน หมู่บ้าน ตำบล
หรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัดใหม่
(11)        ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่าซื้อ หรือรับโอนรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มืที่นั่ง
ไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต เพื่อใช้หรือจะใช้ในกิจการประเภทที่ต้องเสีย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม และต่อมาภายใน 3 ปีนับแต่เดือนภาษีที่ได้รถยนต์ไวิในครอบครองได้มีการดัดแปลงรถยนต์ดังกล่าว
เป็นรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มืที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
ไม่ให้ใช้บังคับสำหรับการขายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มืที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่า
ด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต และการให้บริการเช่ารถยนต์ดังกล่าวของตนเองโดยตรง
(12)       ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีเต็มรูปซึ่งมืรายการ ซื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรตามมาตรา
86/4 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ไม่ได้พิมพ์ขึ้นหรือจัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษี
ขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับเป็นภาษีซื้อต้องห้าม
ไมให้ใช้บังคับสำหรับใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัท
มหาซนจำกัดที่ได้เปลี่ยนสถานะจากรัฐวิสาหกิจประเภทองค์การของรัฐตามที่มืกฎหมายจัดตั้ง ทั้งนี้เฉพาะใบกำกับ
ภาษีที่ได้ออกในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่จดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาขนจำกัด

นิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้

ประเภทของนิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้

นิติบุคคล อื่นๆ นอกจากที่กล่าวในข้างต้น และเฉพาะที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย เช่น กระทรวง ทบวง กรม องค์การ ของรัฐบาลหรือสหกรณ์ ไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแต่อย่างใด

อย่าง ไรก็ตาม ยังมีนิติบุคคลอีกบางประเภทที่เข้าลักษณะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม ประมวลรัษฎากร แต่ได้รับการยกเว้นตามบทบัญญัติของกฎหมายต่างๆ ได้แก่

      (1)   บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามข้อผูกพันที่ประเทศไทยมีอยู่ตามสัญญาว่า ด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ 

      (2)   บริษัทจำกัดที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน 

      (3)   บริษัทจำกัดและนิติบุคคลที่มีสภาพเช่นเดียวกับบริษัทจำกัดซึ่งตั้งขึ้นตาม กฎหมายไทยหรือกฎหมายต่าง ประเทศได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม

      (4)   บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่อยู่ในประเทศที่มีอนุสัญญาว่าด้วยการ เว้นการเก็บภาษีซ้อนกับประเทศไทย ตามเงื่อนไขที่กำหนดในอนุสัญญา 



ฐานภาษีของภาษีเงินได้นิติบุคคล     

         ภาษีเงินได้นิติบุคคล คำนวณจากเงินได้ที่ใช้เป็นหลักฐานในการคำนวณภาษีคูณด้วยอัตราภาษีที่กำหนด ดังนั้น เงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือฐานภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น โดยทั่วไปได้แก่กำไรสุทธิที่คำนวณตาม เงื่อนไขที่กำหนด แต่เพื่อความเป็นธรรมและอุดช่องว่างในการจัดเก็บภาษีเงินได้ จึงได้มี การบัญญัติจัดเก็บภาษีเงินได้ นิติบุคคล จากเงินได้หรือฐานภาษี ที่แตกต่างกัน ดังนี้

                (1)   กำไรสุทธิ

                (2)   ยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
 
                (3)   เงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
 
                (4)   การจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย